วันเสาร์ที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2559

โปรแกรมการอบรมห้องเรียนมัธยมคุณภาพด้วยจิตศึกษาและ PBL


โครงสร้างเวลาเรียนระดับมัธยม  NNK (งอกนอกกะลา)สี่เหลี่ยมมุมมน: 1 ภาคเรียน


วิชา
หน่วยกิต
ชั่วโมง
หมายเหตุ
ภาษาไทย
1.5
3

คณิตศาสตร์
1.5
3
ภาษาอังกฤษ
1.5
3
วิชา PBL

วิทยาศาสตร์
1.5
3
จำนวนชั่วโมง PBL1 และ PBL2 จะไม่น้อยกว่า 14 ชั่วโมง : สัปดาห์

* วิชาหน้าที่พลเมือง ของโรงเรียนบ้านตะเคียนรามนำไปบูรณาการกับกิจกรรมจิตศึกษา
สังคมศึกษา
1.5
3
ประวัติศาสตร์
0.5
1
ศิลปะ
1
2
การงานพื้นฐานอาชีพ
1
2
สุขศึกษาและพละศึกษา
1
2
หน้าที่พลเมือง
0.5
1
วิชาเพิ่มเติม

คณิตศาสตร์
0.5
1

ภาษาอังกฤษและการสื่อสาร
0.5
1

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

ชุมนุม

3
3 ชั่วโมง : 1 สัแดาห์
30  ชั่วโมง : 1 Quarter
60 ชั่วโมง  : 1 ภาคเรียน
แนะแนว
ลูกเสือ,เนตรนารี,อาสาสร้างสุข






โปรแกรมอบรมห้องเรียนคุณภาพด้วยจิตศึกษาและPBL
Ø วัตถุประสงค์
1.       เพื่อสร้างห้องเรียนมัธยมศึกษาคุณภาพสำหรับโรงเรียนอื่นด้วยกิจกรรมจิตศึกษาและPBL
2.       เพื่อสร้างความเข้าใจและฝึกออกแบบกิจกรรมจิตศึกษา  เพื่อพัฒนาปัญญาภายในและ PBL เพื่อพัฒนาปัญญาภายนอก ให้เกิดกับผู้เรียน
Ø เป้าหมาย
ü 80% ของคณะครูและบุคลากรที่เข้ารับการอบรม  สามารถออกแบบและวางแผนกิจกรรมจิตศึกษาได้
Ø กลุ่มเป้าหมาย
ü คณะครูและบุคลากรโรงเรียน...........................จำนวน................คน
Ø ระยะเวลาในการฝึกอบรม
ü หลักสูตร 3 วัน 
Ø สถานที่ดำเนินการ
ü โรงเรียน/สำนัก......................

Ø ตารางกิจกรรม


วัน/เวลา
08.00-08.30 น.
08.30-09.00 น.
09.00-12.00 น.
12.00-13.00น.
13.00-13.20 น.
13.20-16.30 น.
หมายเหตุ
     DAY1
กิจกรรมหน้าเสาธง
สังเกตกิจกรรมจิตศึกษาในชั้นเรียน
·       AAR ( จากการสังเกตกิจกรรมจิตศึกษา)
·       แบ่งครูทั้งหมดเป็น 5 กลุ่ม   ( สาธิตกิจกรรมจิตศึกษาจากทีม Collective trainer และครูที่รับผิดชอบ)
พักรับประทานอาหารกลางวัน
Body Scan
·       สร้างความเข้าใจในการบวนทัศน์จิตศึกษา
·       แบ่งกลุ่มออกแบบกิจกรรมจิตศึกษา
·       AAR        ( นำเสนอ/เพิ่มเติมกิจกรรม)

      DAY2
ตัวแทนกลุ่มลงทำกิจกรรมจิตศึกษากับ นักเรียนแต่ละห้อง
·        AAR ( ภายหลังการลงกิจกรรม)
·        ออกแบบกิจกรรมจิตศึกษารายบุคคล
·        เลือก
กิจกรรมที่ดีที่สุด 1 กิจกรรม ร่วมแบ่งปัน Shopping Idea
·        AAR ( สิ่งที่
ได้เรียนรู้)

      DAY3
โยคะ(ทีม Collective trainer และครูที่รับผิดชอบ)
·        AAR (กิจกรรมโยคะ)
·        รับชมวีดิโอ “ปัญหาการศึกษา”
·        AAR ( หลังชม)
·        ชม VDO “ การเรียนรู้
แบบบูรณาการของโรงเรียน”
·        AAR ( สังเกตเห็นอะไร)
·        วิเคราะห์ตารางกิจกรรม
·        AAR (สิ่งที่ได้เรียนรู้ทั้ง3วัน )
เดินทางกลับ..

แนวทางการประเมินการอบรม
ระหว่างการอบรม
v สังเกตความสนใจระหว่างร่วมกิจกรรม
ระยะติดตาม
v ทีม Collective trainer ติดตาม
v สังเกตการณ์เปลี่ยนแปลงภายนอก  เช่น  ชิ้นงาน  ความเป็นวิถี




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น