วันศุกร์ที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2560

การวิพากษ์แผน Q.4/2559 23-27 มกราคม 2560

การวิพากษ์หน่วยการเรียนรู้ควอเตอร์ 4/2559
FA ทำหน้าที่ได้ยอดเยี่ยม Note taker ทำหน้าที่สรุปแต่ละประเด็น ซึ่งจากการสรุปประเด็นแล้วคุณครูแต่ละห้องสุดยอดและออกแบบกระบวนการได้อย่างน่าทึ่ง เป็นหน่วยใหม่ไม่เคยจัดการเรียนรู้มาก่อนแม้ใช้เวลา 2 วันในการออกแบบกระบวนการแต่ละกิจกรรมสอดคล้องตัวชี้วัดของแต่ละชั้นตอบคำถามของ FA  และผู้ร่วมวงทุกท่านได้อย่างชัดเจน การออกแบบการสร้างแรงบันดาลใจเพื่อให้ได้ชื่อหน่วยตามที่ครูวางแผนไว้คือสิ่งที่ท้าทายแล้วพบกันกับสัปดาห์ที่ 1 วันที่ 23-27มกราคม 2560 สัปดาห์แห่งกาารสร้างแรงบันดาลใจที่ปะทายนะคะ





Openeye รร.บ้านหินลับศิลามงคล 19/12/2559

ดูเหมือนจะเหนื่อยแต่ก็ไม่รู้สึกเหนื่อย เมื่อสิ่งที่ได้ลงมือทำเกิดมรรคเกิดผลเป็นที่ยอมรับของกัลยาณมิตรทางการศึกษา ที่แสวงหาเแหล่งเรียนรู้ในการสร้างการรับรู้ให้กับคุณครูและบุคลากรทางการศึกษา🐷🐖
🐏🐑ขอขอบคุณ ดร.ภาวิไล บุญทองแพง ผอ.ร.ร.บ้านหินลับศิลามงคล และคณะครูกลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาเมือง 6 จ.หนองบัวลำภู จำนวน 33 คน ร่วมเรียนรู้ศึกษาดูงาน 19/12/59 ที่ #โรงเรียนบ้านปะทาย

วันเสาร์ที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2559

การจัดอบรมจิตศึกษาให้ผู้ปกครองเครือข่าย

การอบรมผู้ปกครองเครือข่าย
การจัดกระบวนการเรียนรู้จะสามารถพัฒนาได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืนได้ก้ต่อเมื่อได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครองที่เป็นอีกหนึ่งสภาพแวดล่้อมที่สำคัญในการพัฒนาผู้เรียนจึงมีการจัดการอบรมผู้ปกครองเครือข่ายเพื่อเป็นต้นแบบในการจัดการอบรมต่อให้กับผู้ปกครองในโรงเรียน

การ  Body  Scan  ของผู้ปกครองเครือข่าย


ความดีสากลและแนวทางการกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมเชิงบวก


รู้ลมหายใจ  รู้ในกิจที่ทำ




ท่านศึกษานิเทศก์เข้ารับการอบรมในหลักสูตรดังกล่าวและร่วมสร้างแรงบันดาลใจให้กับผู้ปกครอง

การจัดอบรมจิตศึกษาให้ผู้ปกครองเครือข่าย

การอบรมผู้ปกครองเครือข่าย
การจัดกระบวนการเรียนรู้จะสามารถพัฒนาได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืนได้ก้ต่อเมื่อได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครองที่เป็นอีกหนึ่งสภาพแวดล่้อมที่สำคัญในการพัฒนาผู้เรียนจึงมีการจัดการอบรมผู้ปกครองเครือข่ายเพื่อเป็นต้นแบบในการจัดการอบรมต่อให้กับผู้ปกครองในโรงเรียน

การ  Body  Scan  ของผู้ปกครองเครือข่าย


ความดีสากลและแนวทางการกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมเชิงบวก


รู้ลมหายใจ  รู้ในกิจที่ทำ




ท่านศึกษานิเทศก์เข้ารับการอบรมในหลักสูตรดังกล่าวและร่วมสร้างแรงบันดาลใจให้กับผู้ปกครอง
กิจกรรม Collective ครั้งที่ 2



วันที่สอง: ได้แยกกลุ่ม เป็น กลุ่มครูปฐมวัย ครูคณิตศาสตร์ ครูมัธยม  ครูภาษาไทย  สำหรับครูน้องได้ร่วมกลุ่มครูคณิตศาสตร์ ประทับใจ trainer ประจำกลุ่ม ครูฟ้าน่ารักอธิบายได้ยอดเยี่ยมทำให้เหล่า collective math team ไม่เครียด ออกแบบงานได้อย่างสร้างสรรค์

วันแรก : ได้ใคร่ครวญตนเองจากการทำกิจกรรมจิตศึกษา ประทับใจมากสำหรับการสร้างมนุษย์ต่างดาวคนหนึ่งให้กลายเป็นคนที่สมบูรณ์แบบ
วันที่ 3: แยกกลุ่มออกแบบกิจกรรมต่อ และนำเสนอกันในภาคบ่าย
วันที่ 4: เรียนรู้เรื่องการทำบล๊อก AAR ร่วมกัน อ้อลืม ได้เขียนจดหมายด้วย


หลักสูตร การสอนภาษาไทยผ่านวรรณกรรม

หลักสูตร การสอนภาษาไทยผ่านวรรณกรรม
กลุ่มเป้าหมาย : ครูผู้สอนภาษาไทยกลุ่มโรงเรียนเครือข่าย
 จำนวน ๕๐ คน  ระยะเวลาการอบรม ๒ วัน สถานที่ ; หอประชุมดำรงพัฒน์ โรงเรียนอนุบาลดำรงราชานุสรณ์
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต ๔
วันที่ ๑
เวลา
กิจกรรม
เป้าหมาย
สือ/อุปกรณ์
ผู้รับผิดชอบ
๐๘.๐๐ ๐๘.๒๐ น.
จิตศึกษา(เชื่อมโยงกลุ่มสาระ)
-เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความพร้อมในการเรียนรู้


๐๘.๒๐ ๐๘.๔๐ น.
ดูคลิป ความงอกงามจากการสอนภาษาไทยผ่านวรรณกรรม(Lesson study)
-เพื่อสร้างแรงบันดาลจแก่ผู้เข้ารับการอบรม
-Lesson study


๐๘.๔๐ ๑๐.๓๐ น.
โจทย์:ปัญหาการเรียนการสอนภาษาไทย
วิเคราะห์โครงสร้างปัญาการเรียนการสอนภาษาไทย/AAR
-เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถวิเคราะห์โครงสร้างปัญหาของการเรียนภาษาไทยได้
-สามเหลี่ยมวิเคราะห์โครงสร้างปัญหา

๑๐.๓๐-๑๐.๔๕ น.
พักรับประทานอาหารว่าง



๑๐.๔๕-๑๒.๐๐ น.
-อ่านวรรณกรรม
-เทคนิคการตั้งคำถามตามพฤติกรรมสมอง
-ประเภทของเครื่องมือคิด
-AAR
-เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถใช้เครื่องมือคิดและสามารถใช้คำถามกระตุ้นความคิดตามพฤติกรรมสมองได้


๑๒.๐๐-๑๓.๐๐ น.
พักรับประทานอาหารกลางวัน



๑๓.๐๐-๑๓.๒๐ น.
Body scan
-เพื่อผ่อนคลายร่างกาย


๑๓.๒๐-๑๕.๐๐  น.
-เลือกวรรณกรรมที่เหมาะสมกับระดับชั้น
-ฝึกวิเคราะห์ขอบข่ายเนื้อหาสาระการเรียนรู้
-การเขียน Mind Mapping
-วิเคราะห์ตัวชี้วัด/มาตรฐาน
-AAR
-เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถเลือกวรรณกรรมได้เหมาะสมกับระยะชั้นและสามารถวิเคราะห์ขอบข่ายเนื้อหาสาระการเรียนรู้/มาตรฐาน ตัวชี้วัด
และเขียน Mind Mapping ได้

-หนังสือวรรณกรรม
-บทความ
-เพลง
-นิทาน


การบ้าน
-ผู้เข้ารับการอบรมเลือกวรรณกรรมที่เหมาะสมกับระดับชั้นไปอ่านและเขียนขอบข่ายเนื้อหาสาระการเรียนรู้



วันที่ ๒




๐๘.๐๐-๐๘.๒๐ น.
จิตศึกษา(เชื่อมโยงกลุ่มสาระ)
-เพื่อกำกับสติ
-เพื่อเชื่อมโยงสู่แก่นเรื่องวรรณกรรม


๐๘.๒๐-๐๙.๐๐ น.
-แลกเปลี่ยนวรรณกรรมจากเรื่องที่อ่านผ่านคำถามที่เชื่อมพฤติกรรมสมอง
-AAR
-เพื่อให้เกิดความเข้าใจสามารถตั้งคำถามที่เชื่อมโยงพฤติกรรมสมองได้

๐๙.๐๐- ๑๐.๓๐ น.
-ลงมือปฏิบัติ การเขียนแผนจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทยผ่านวรรณกรรม(Mind Mapping)
สามารถเขียน Mind Mapping ได้อย่างครอบคลุม
-กระดาษ A4
-สี

๑๐.๓๐-๑๐.๔๕ น.
พักรับประทานอาหารว่าง



๑๐.๔๕-๑๒.๐๐ น.
เขียนแผนการจัดการเรียนรู้ภาษาไทยผ่านวรรณกรรม (วิเคราะห์ตัวชี้วัด/ตารางวิเคราะห์ตัวชี้วัด/มาตรฐาน)
สามารถวิเคราะห์ตัวชี้วัด/ตารางวิเคราะห์ตัวชี้วัด/มาตรฐานได้อย่างครอบคลุม สามารถนำไปใช้ได้จริง

-กระดาษบรูฟ
-สี

๑๒.๐๐-๑๓.๐๐ น.
พักรับประทานอาหารกลางวัน



๑๓.๐๐-๑๓.๒๐ น.
Body scan
-เพื่อผ่อนคลายร่างกาย


๑๓.๒๐-๑๓.๓๐  น.
Check in
เพื่อเตรียมความพร้อมของผู้เข้ารับการอบรม



๑๓.๓๐-๑๔.๓๐ น.
ออกแบบปฏิทินการเรียนรู้
เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถออกแบบปฏิทินการเรียนรู้ได้
-กระดาษบรูฟ
-สี

๑๔.๓๐-๑๔.๔๕ น.
พักรับประทานอาหารว่าง



๑๔.๔๕-๑๕.๓๐
ออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้
เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถออกแบบการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทยผ่านวรรณกรรมได้


๑๕.๓๐-๑๖.๐๐ น.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้(AAR)
-เพื่อนำเสนอความงอกงามจากการอบรม
-เพื่อเติมเต็มความรู้ความเข้าใจและพลังใจซึ่งกันและกัน




โปรแกรมการอบรมห้องเรียนมัธยมคุณภาพด้วยจิตศึกษาและ PBL


โครงสร้างเวลาเรียนระดับมัธยม  NNK (งอกนอกกะลา)สี่เหลี่ยมมุมมน: 1 ภาคเรียน


วิชา
หน่วยกิต
ชั่วโมง
หมายเหตุ
ภาษาไทย
1.5
3

คณิตศาสตร์
1.5
3
ภาษาอังกฤษ
1.5
3
วิชา PBL

วิทยาศาสตร์
1.5
3
จำนวนชั่วโมง PBL1 และ PBL2 จะไม่น้อยกว่า 14 ชั่วโมง : สัปดาห์

* วิชาหน้าที่พลเมือง ของโรงเรียนบ้านตะเคียนรามนำไปบูรณาการกับกิจกรรมจิตศึกษา
สังคมศึกษา
1.5
3
ประวัติศาสตร์
0.5
1
ศิลปะ
1
2
การงานพื้นฐานอาชีพ
1
2
สุขศึกษาและพละศึกษา
1
2
หน้าที่พลเมือง
0.5
1
วิชาเพิ่มเติม

คณิตศาสตร์
0.5
1

ภาษาอังกฤษและการสื่อสาร
0.5
1

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

ชุมนุม

3
3 ชั่วโมง : 1 สัแดาห์
30  ชั่วโมง : 1 Quarter
60 ชั่วโมง  : 1 ภาคเรียน
แนะแนว
ลูกเสือ,เนตรนารี,อาสาสร้างสุข






โปรแกรมอบรมห้องเรียนคุณภาพด้วยจิตศึกษาและPBL
Ø วัตถุประสงค์
1.       เพื่อสร้างห้องเรียนมัธยมศึกษาคุณภาพสำหรับโรงเรียนอื่นด้วยกิจกรรมจิตศึกษาและPBL
2.       เพื่อสร้างความเข้าใจและฝึกออกแบบกิจกรรมจิตศึกษา  เพื่อพัฒนาปัญญาภายในและ PBL เพื่อพัฒนาปัญญาภายนอก ให้เกิดกับผู้เรียน
Ø เป้าหมาย
ü 80% ของคณะครูและบุคลากรที่เข้ารับการอบรม  สามารถออกแบบและวางแผนกิจกรรมจิตศึกษาได้
Ø กลุ่มเป้าหมาย
ü คณะครูและบุคลากรโรงเรียน...........................จำนวน................คน
Ø ระยะเวลาในการฝึกอบรม
ü หลักสูตร 3 วัน 
Ø สถานที่ดำเนินการ
ü โรงเรียน/สำนัก......................

Ø ตารางกิจกรรม


วัน/เวลา
08.00-08.30 น.
08.30-09.00 น.
09.00-12.00 น.
12.00-13.00น.
13.00-13.20 น.
13.20-16.30 น.
หมายเหตุ
     DAY1
กิจกรรมหน้าเสาธง
สังเกตกิจกรรมจิตศึกษาในชั้นเรียน
·       AAR ( จากการสังเกตกิจกรรมจิตศึกษา)
·       แบ่งครูทั้งหมดเป็น 5 กลุ่ม   ( สาธิตกิจกรรมจิตศึกษาจากทีม Collective trainer และครูที่รับผิดชอบ)
พักรับประทานอาหารกลางวัน
Body Scan
·       สร้างความเข้าใจในการบวนทัศน์จิตศึกษา
·       แบ่งกลุ่มออกแบบกิจกรรมจิตศึกษา
·       AAR        ( นำเสนอ/เพิ่มเติมกิจกรรม)

      DAY2
ตัวแทนกลุ่มลงทำกิจกรรมจิตศึกษากับ นักเรียนแต่ละห้อง
·        AAR ( ภายหลังการลงกิจกรรม)
·        ออกแบบกิจกรรมจิตศึกษารายบุคคล
·        เลือก
กิจกรรมที่ดีที่สุด 1 กิจกรรม ร่วมแบ่งปัน Shopping Idea
·        AAR ( สิ่งที่
ได้เรียนรู้)

      DAY3
โยคะ(ทีม Collective trainer และครูที่รับผิดชอบ)
·        AAR (กิจกรรมโยคะ)
·        รับชมวีดิโอ “ปัญหาการศึกษา”
·        AAR ( หลังชม)
·        ชม VDO “ การเรียนรู้
แบบบูรณาการของโรงเรียน”
·        AAR ( สังเกตเห็นอะไร)
·        วิเคราะห์ตารางกิจกรรม
·        AAR (สิ่งที่ได้เรียนรู้ทั้ง3วัน )
เดินทางกลับ..

แนวทางการประเมินการอบรม
ระหว่างการอบรม
v สังเกตความสนใจระหว่างร่วมกิจกรรม
ระยะติดตาม
v ทีม Collective trainer ติดตาม
v สังเกตการณ์เปลี่ยนแปลงภายนอก  เช่น  ชิ้นงาน  ความเป็นวิถี